บทความ

พระราม

รูปภาพ
ระราม  ( สันสกฤต :  राम   รามะ ) เป็นตัวละครเอกในเรื่อง รามเกียรติ์  ซึ่งชาวฮินดูเชื่อว่าเป็นร่างอวตารปางที่ 7 ของ พระวิษณุ  อวตารลงมาเป็นโอรส ท้าวทศรถ และ นางเกาสุริยา  มีพระวรกายเป็น สีเขียว  ทรงธนูเป็นอาวุธ มี ศร วิเศษสามเล่มคือ ศรพรหมมาตร ศรอัคนิวาต และศรพลายวาต เวลาสำแดงอิทธิฤทธิ์จะปรากฏเป็น 4 มือ ทรงเทพอาวุธ ตรี คฑา จักร สังข์ พระรามมีพระอนุชาร่วมพระบิดา 3 พระองค์ ได้แก่  พระพรต   พระลักษมณ์  และ พระสัตรุด ลักษณะและสี สีเขียวนวล 1 หน้า 2 มือ มงกุฏเดินหน มงกุฏชัย หรือพระมหามงกุฏ ตอนทรงพรตสวม"ชฎายอดฤษี" มเหสีและโอรส พระรามมีพระมเหสีคือ นางสีดา  ผู้เป็นพระธิดาของท้าว ทศกัณฐ์ กับ นางมณโฑ  พระรามกับนางสีดามีโอรส 1 องค์ คือ  พระมงกุฎ  และมีบุตรเลี้ยง 1 องค์ คือ  พระลบ  ซึ่งพระควัชมฤคฤษีชุบขึ้นมาให้เป็นพระอนุชาของพระมงกุฏ พระรามในความเชื่อของไทย ชาวไทยมีคติความเชื่อว่า พระมหากษัตริย์ ถือเป็น พระนารายณ์ อวตาร พระนามของกษัตริย์จึงมีคำว่า ราม อยู่ด้วยเสมอ เช่น   สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1   (พระเจ้าอู่ทอง) หรือแม้กระทั่งในสมัยกรุงสุโขทัย ก็มีพระมหากษัตริย์ทรงพร

นางสีดา

รูปภาพ
นางสีดา คือ พระลักษมีเป็นมเหสีเอกของพระนารายณ์ อวตาร ลงมาเกิด เพื่อเป็นคู่ครองของพระราม เรื่องของนางเริ่มต้นขึ้นเมื่อ พระนารายณ์ ได้อวตารลงมาเกิดเป็น พระราม   พระลักษมี พระชายาแห่งพระนารายณ์จึงทรงอวตารลงไปเกิดเป็นคู่ครองของพระราม ณ กรุงอโยธยาในครานั้น ท้าวทศรถผู้ครองนครมีอายุมากแล้ว ทั้งทีมีมเหสีถึงสามนางคือ พระนางเกาสุริยา พระนางไกยเกษี และพระนางสมุทรเทวี แต่พระองค์ก็หาได้มีพระโอรสธิดาไว้สืบราชวงศ์ไม่ ท้าวทศรถได้นำความนี้ปรึกษากับเหล่าฤๅษี ซึ่งพระฤๅษีกไลโกฎได้ทูลว่า ควรจะทำพิธีบวงสรวงขอพระโอรสธิดาจากเทพเจ้า ด้วยวิธีการกวนข้าวทิพย์ ท้าวทศรถจึงจัดพิธีการกวนข้าวทิพย์อย่างยิ่งใหญ่ภายในกรุงอโยธยาเพื่อวอนขอสิ่งที่พระองค์ปรารถนา พระอิศวร จึงมีพระบัญชาให้พระรามลงอวตารเป็นพระโอรสแห่งท้าวทศรถ ซึ่ง พระยาอนันตนาคราช ผู้เป็นพระแท่นบรรทมของพระนารายณ์ก็ขอติดตามไปด้วย เมื่อพิธีเสร็จสิ้น ท้าวทศรถจึงแบ่งก้อนข้าวทิพย์ให้แก่มเหสีทั้งสามของพระองค์ แต่เหลือข้าวก้อนสุดท้ายอยู่ ข้าวทิพย์เหล่านี้มีกลิ่นหอมหวลอย่างมากจนฟุ้งไกลไปถึงกรุงลงกา  นางมณโฑ  มเหสีของ ทศกัณฐ์ ได้กลิ่นเข้าก็ร่ำร้องอยากกินให้ได้ มิฉะ

ความเป็นมาของภาษาไทย

รูปภาพ
ภาษาไทยเป็นภาษาที่เก่าเเก่ที่สุดในประเทศเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีรากฐานมาจากออสโตรไทย ซึ่งมีความคล้ายคลึงกับภาษาจีน มีหลายคำที่ขอยืมมาจากภาษาจีน พ่อขุนรามคำเเหงได้ประดิษฐ์อักษรไทยขึ้นเมื่อปี พศ 1826 (คศ1283) มี พยัญชนะ 44 ตัว (21 เสียง), สระ 21 รูป (32 เสียง), วรรณยุกต์ 5 เสียง คือ เสียง สามัญ เอก โท ตรี จัตวา ภาษาไทยดัดเเปลงมาจากบาลี เเละ สันสกฤต คนไทยเป็นผู้ที่โชคดีที่มีภาษาของตนเอง เเละมีอักษรไทย เป็นตัวอักษร ประจำชาติ อันเป็นมรดกล้ำค่าที่บรรพบุรุษได้สร้างไว้ ซึ่งเป็นเครื่องเเสดงว่าไทยเราเป็นชาติที่มีวัฒนธรรมสูงส่งมาเเต่โบราณกาลเเละยั่งยืนมาจนปัจจุบัน คนไทยผู้เป็นเจ้าของภาษา ควรภาคภูมิใจที่ชาติไทยใช้ภาษาไทย เป็นภาษาประจำชาติมากว่า 700 ปีเเล้ว เเละจะยั่งยืนตลอดไป ถ้าทุกคนตระหนักในความสำคัญของภาษาไทย ภาษาเป็นวัฒนธรรมที่สำคัญของชาติ ภาษาเป็นสื่อใช้ติดต่อกันเเละทำให้วัฒนธรรมอื่นๆเจริญขึ้น เเต่ละภาษามีระเบียบของตนเเล้วเเต่จะตกลงกันในหมู่ชนชาตินั้น ภาษาจึงเป็นศูนย์กลางยืดคนทั้งชาติ ดังข้อความ ตอนหนึ่งในพระราชนิพนธ์ในพระบาท สมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว เรื่อง "ความเป็นชาติโด

หนุมาน

รูปภาพ
หนุมาน เป็นลิงที่มีฤทธิ์มาก สามารถสำแดงเดชต่าง ๆ ได้หลายประการ เช่น การขยายร่างกายให้ใหญ่โต การยืดหางให้ยาว เป็นต้น นอกจากนี้ หนุมานยังได้ชื่อว่าเป็นอมตะ คือ ไม่มีวันตาย เนื่องจากเป็นบุตรของ พระพาย   (ลม) กับ นางสวาหะ   ด้วยเหตุนี้ เมื่อหนุมานมีอันตรายถึงตายแล้ว เพียงแค่มีลมพัดมา หนุมานก็จะฟื้นคืนชีพขึ้นมาใหม่ ด้วยอำนาจของพระพายผู้เป็นบิดา บุคลิกของหนุมานเป็นตัวแทนของชายหนุ่มทั่วไป คือ รูปงาม มีนิสัยเจ้าชู้ และ มีภรรยามาก เช่น  นางสุพรรณมัจฉา  ทั้งคู่มีบุตรด้วยกันหนึ่งตน คือ  มัจฉานุ  ซึ่งเป็นลูกผสมระหว่าง ลิงเผือกกับปลา นั่นคือ มีกายเป็นลิงเผือกเหมือนหนุมาน แต่หางนั้น กลับเป็นหางของปลา  นางเบญกาย  บุตรีของพญาพิเภก หนุมานได้นางเบญกายตอนที่ นางเบญกายจำแลงกายเป็นศพของ  นางสีดา ลอยทวนน้ำมา เพื่อหลอกพระรามให้เสียพระทัย แต่ภายหลังกลนี้ถูกจับได้ พระรามจึงให้หนุมานพานางเบญจกายไปส่งกลับเมือง ซึ่งทั้งคู่มีลูกด้วยกัน ชื่อว่า  อสุรผัด ตลอดเรื่องรามเกียรติ์นั้น หนุมานผู้เป็นทหารเอกได้รับรางวัลจากพระราม 3 ครั้ง ผ้าขาวม้า ได้ตอนที่หนุมานไปเผากรุงลงกา ธำมรงค์ ได้จากตอนที่ไปช่วยพระรามหลังจา

ทศกัณฐ์

รูปภาพ
ทศกัณฐ์ เป็นหลานของบุตรของ ท้าวลัสเตียน กับ นางรัชฎา อีกทีหนึ่ง เจ้ากรุง ลงกา  เดิมเป็น ยักษ์ ชื่อ "นนทก" กลับชาติมาเกิด ซึ่งนนทกมีหน้าที่ล้างเท้าให้กับเทวดาทั้งหลาย เทวดาเหล่านั้นก็มักจะลูบหัวนนทกจนหัวล้าน นนทกจึงเกิดความแค้น เลยไปขอนิ้วเพชรจาก พระอิศวร  แล้วทำร้ายพวกเทวดาที่มาลูบหัวตน นนทกได้เข่นฆ่าเหล่าเทวดาตายนับไม่ถ้วน ทำให้พระอิศวรต้องร้องขอ พระนารายณ์ ให้มาช่วยปราบนนทกให้ พระนารายณ์จัดการกับนนทก โดยการจำแลงองค์เป็นนางเทพอัปสรดักอยู่ตรงทางที่นนทกเดินผ่านเป็นประจำ ฝ่ายยักษ์นนทกเมื่อได้เห็นนางจำแลงจึงเกิดความหลงและเข้าไปเกี้ยวพาราสี นางจำแลงแสร้งทำยินดี โดยยื่นข้อเสนอว่าให้นนทกร่ายรำตามนางทุกท่าแล้วจะยินดีผูกมิตรด้วย และแล้วยักษ์นนทกก็ทำตามนาง ด้วยท่ารำตามกลอนว่า เทพนมปฐมพรหมสี่หน้า สอดสร้อยมาลาเฉิดฉิน ทั้งกวางเดินดงหงส์บิน กินรินเรียบถ้ำอำไพ อีกช้านางนอนภมรเคล้า ทั้งแขกเต้าผาลาเพียงไหล่ เมขลาโยนแก้วแววไว มยุเรศฟ้อนในอำพร ยอดตองต้องลมพรหมนิมิตร ทั้งพิศมัยเรียงหมอน ย้ายท่ามัจฉาชมสาคร พระสี่กรขว้างจักรฤทธิรงค์ ฝ่ายว่านนทกก็รำตาม ด้วยความพิศมัยไหลหลง ถึงท่านาคาม้

Home page

รูปภาพ
                                                                           

การนำเสนอข้อมูล

รูปภาพ
BACK